บทความ

รักษาสมบัติส่วนรวม

       รักษาสมบัติส่วนรวม ชาย โพธิสิตา (2540: 14 – 15) แบ่งองค์ประกอบของจิตสาธารณะจากงานวิจัยของลัดดาวัลย์  เกษมเนตร (2546: 2 – 3) ที่ศึกษากับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพราะองค์ประกอบดังกล่าวสอดคล้องกับพัฒนาการทางด้านต่างๆ ของเด็กวัยที่ผู้วิจัยศึกษาและสมบัติของส่วนรวมที่ผู้วิจัยศึกษาในครั้งนี้ เป็นสมบัติส่วนรวมที่อยู่ในโรงเรียน ทั้งสมบัติส่วนรวมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ซึ่งแบ่งองค์ประกอบของจิตสาธารณะเป็น 3 องค์ประกอบ 6 ตัวชี้วัด คือ 1. การหลีกเลี่ยงการใช้ หรือการกระทำที่จะทำให้เกิดความเสียหายต่อสมบัติของส่วนรวมในโรงเรียนที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม หมายถึง การกระทำของนักเรียนในการรักษาทรัพย์สินการดูแลรักษาความสะอาด การไม่ทำลายทรัพย์สินที่เป็นสาธารณสมบัติในโรงเรียน ทั้งในห้องเรียนเช่น โต๊ะ เก้าอี้ กระดานดำ ชั้นวางหนังสือ ถังขยะ ไม้กวาด เป็นต้น และสมบัตินอกห้องเรียน เช่น ห้องอาหาร ห้องสุขา ห้องปฏิบัติการต่างๆ ห้องสมุด สวนหย่อมในบริเวณโรงเรียน สนามเด็กเล่น เป็นต้น โดยวัดได้จาก 2 ตัวชี้วัดคือ      1.1 การดูแลรักษาสมบัติของส่วนรวมในโรงเรีย...

ประหยัดน้ำแบ่งปันน้ำใจ

ประหยัดน้ำแบ่งปันน้ำใจ 1.ตรวจสอบการรั่วไหลของก๊อกและท่อน้ำ 2.อย่าใช้ห้องน้ำเป็นที่ทิ้งบุหรี่หรือคิดว่าเป็นที่ทิ้งขยะ บางคนอาจทิ้งบุหรี่ หรือเขี่ยก้นบุหรี่ลงบนพื้นห้องน้ำ ชักโครก หรือทิ้งกระดาษทิชชูซับหน้าแผ่นเล็ก คุณรู้หรือไม่ว่าเราต้องใช้น้ำ 5-7 แกลลอนในการทำความสะอาดสิ่งสกปรกเหล่านั้น 3.เช็คการรั่วไหลของชักโครก ด้วยการเทสีผสมอาหารเล็กน้อยลงในถังชักโครก แล้วทิ้งไว้ประมาณครึ่งชั่วโมง หากมีสีรอยปรากฏในโถชักโครก นั่นหมายความว่าชักโครกของคุณรั่ว ต้องรีบซ่อมแซมด่วน 4.ใช้มิเตอร์น้ำตรวจเช็คการรั่วไหลของน้ำที่อาจซ่อนอยู่ อ่านมิเตอร์น้ำก่อนและหลังการใช้น้ำ 2 ชั่วโมง ถ้าไม่สามารถอ่านได้ แสดงว่ามีจุดที่น้ำรั่วไหล 5.ติดตั้งหัวฝักบัวประหยัดน้ำ และก๊อกน้ำควบคุมการไหลของน้ำ 6.ใส่ขวดพลาสติกลงในถังชักโครก เพื่อลดการสูญเสียน้ำ ให้คุณใส่ทรายหรือกรวดหรือทั้งสองชนิดลงในขวดพลาสติก จากนั้นกรอกน้ำลงไปแล้วปิดฝาขวดให้แน่น จากนั้นวางขวดลงในถังชักโครก ซึ่งมันจะช่วยให้กลไกการทำงานมีความปลอดภัย และยังช่วยประหยัดน้ำด้วย 7.ป้องกันท่อน้ำ มันง่ายและถูกมากที่จะรักษาท่อน้ำของคุณด้วยการใช้โฟมรองท่อฉนวนกันความร้อนก...

รณรงค์การรับประทานอาหารขยะ

รูปภาพ
                                           รณรงค์การรับประทานอาหารขยะ ซึ่งอาหารเหลือทิ้งเหล่านี้เมื่อนำมารวมๆกันทั้งโลกแล้วอาจจะพอเลี้ยงผู้คนในประเทศยากไร้ได้สบายๆ มีการระบุถึงตัวเลขอาหารเหลือทิ้ง โดยประมาณทั้งโลกไว้อย่างน่าสนใจว่า ในแต่ละปีจะทั่วโลกจะผลิตอาหารสำหรับรับประทานตามร้านและบ้านเรือนอยู่ที่ราวๆ 4,000 ล้านตัน แต่มีอาหารเหลือทิ้งอยู่ประมาณ 1.2-2 ล้านตัน/ปี โดยประเทศที่มีอาหารเหลือทิ้งมากที่สุดคือประเทศฝรั่งเศส รองลงมาคือรัสเซีย จนทำให้รัฐบาลต้องประกาศห้ามนำอาหารที่เหลือจากการผลิตในแต่ละวันไปทิ้ง และกำหนดให้นำอาหารเหล่านี้ไปให้กับมูลนิธิและองค์กรการกุศลแทน ไม่อย่างนั้นต้องถูกปรับเป็นเงิน 7.5 ปอนด์ หรือประมาณ 3 ล้านบาท (ไทย) และภายในปี 2025 จะต้องลดขยะอาหารให้เหลือเพียงครึ่งจากจำนวนในปัจจุบัน ก็นับว่าเป็นความพยายามที่ได้รับเสียงตอบรับที่ดีจากชาวฝรั่งเศสและคนทั้งโลก เพราะนั่นเท่ากับเป็นการบังคับให้ช่วยเหลือมูลนิธิต่างๆ ในทางอ้อม เมื่อปัญหาอาหารเหลือทิ้งกลายเป็นป...