รณรงค์การรับประทานอาหารขยะ
รณรงค์การรับประทานอาหารขยะ
ซึ่งอาหารเหลือทิ้งเหล่านี้เมื่อนำมารวมๆกันทั้งโลกแล้วอาจจะพอเลี้ยงผู้คนในประเทศยากไร้ได้สบายๆ มีการระบุถึงตัวเลขอาหารเหลือทิ้ง โดยประมาณทั้งโลกไว้อย่างน่าสนใจว่า ในแต่ละปีจะทั่วโลกจะผลิตอาหารสำหรับรับประทานตามร้านและบ้านเรือนอยู่ที่ราวๆ 4,000 ล้านตัน แต่มีอาหารเหลือทิ้งอยู่ประมาณ 1.2-2 ล้านตัน/ปี
โดยประเทศที่มีอาหารเหลือทิ้งมากที่สุดคือประเทศฝรั่งเศส รองลงมาคือรัสเซีย จนทำให้รัฐบาลต้องประกาศห้ามนำอาหารที่เหลือจากการผลิตในแต่ละวันไปทิ้ง และกำหนดให้นำอาหารเหล่านี้ไปให้กับมูลนิธิและองค์กรการกุศลแทน ไม่อย่างนั้นต้องถูกปรับเป็นเงิน 7.5 ปอนด์ หรือประมาณ 3 ล้านบาท (ไทย) และภายในปี 2025 จะต้องลดขยะอาหารให้เหลือเพียงครึ่งจากจำนวนในปัจจุบัน ก็นับว่าเป็นความพยายามที่ได้รับเสียงตอบรับที่ดีจากชาวฝรั่งเศสและคนทั้งโลก เพราะนั่นเท่ากับเป็นการบังคับให้ช่วยเหลือมูลนิธิต่างๆ ในทางอ้อม
เมื่อปัญหาอาหารเหลือทิ้งกลายเป็นปัญหาระดับโลก องค์การสหประชาชาติจึงได้แนะนำแนวทางการแก้ไขปัญหาขยะอาหารสำหรับทุกคนดังนี้
1.วางแผนการซื้อโดยดูว่าเราต้องการรับประทานอะไรบ้างในแต่ละวันหรือแต่ละสัปดาห์
2.รู้จักคำนวณปริมาณการซื้อที่เพียงพอต่อความต้องการ ซื้อเท่าที่จะรับประทาน สั่งอาหารแต่พอดี
3.รู้จักวันหมดอายุของอาหารและนำมาปรุงอย่างเหมาะสม
4.เรียงลำดับอาหารในตู้เย็นตามวันหมดอายุของอาหาร โดยให้อาหารที่กำลังจะหมดอายุก่อนอยู่หน้าสุด
5.รู้จักวิธีการเก็บถนอมอาหารให้มีอายุยาวนานมากที่สุด
6.จัดแบ่งอาหารใส่กล่องสำหรับเตรียมประกอบอาหารในแต่ละมื้อ เช่น วัตถุดิบสำหรับทำอาหารกลางวัน กล่องเตรียมอาหารสำหรับลูกไปโรงเรียน เป็นต้น
7.คอยตรวจสอบอาหารในตู้ว่ามีสิ่งไหนใกล้หมดอายุ และรีบนำมา ประกอบอาหารในมื้อต่อไปทันที
http://www.thaihealth.or.th
ซึ่งอาหารเหลือทิ้งเหล่านี้เมื่อนำมารวมๆกันทั้งโลกแล้วอาจจะพอเลี้ยงผู้คนในประเทศยากไร้ได้สบายๆ มีการระบุถึงตัวเลขอาหารเหลือทิ้ง โดยประมาณทั้งโลกไว้อย่างน่าสนใจว่า ในแต่ละปีจะทั่วโลกจะผลิตอาหารสำหรับรับประทานตามร้านและบ้านเรือนอยู่ที่ราวๆ 4,000 ล้านตัน แต่มีอาหารเหลือทิ้งอยู่ประมาณ 1.2-2 ล้านตัน/ปี
โดยประเทศที่มีอาหารเหลือทิ้งมากที่สุดคือประเทศฝรั่งเศส รองลงมาคือรัสเซีย จนทำให้รัฐบาลต้องประกาศห้ามนำอาหารที่เหลือจากการผลิตในแต่ละวันไปทิ้ง และกำหนดให้นำอาหารเหล่านี้ไปให้กับมูลนิธิและองค์กรการกุศลแทน ไม่อย่างนั้นต้องถูกปรับเป็นเงิน 7.5 ปอนด์ หรือประมาณ 3 ล้านบาท (ไทย) และภายในปี 2025 จะต้องลดขยะอาหารให้เหลือเพียงครึ่งจากจำนวนในปัจจุบัน ก็นับว่าเป็นความพยายามที่ได้รับเสียงตอบรับที่ดีจากชาวฝรั่งเศสและคนทั้งโลก เพราะนั่นเท่ากับเป็นการบังคับให้ช่วยเหลือมูลนิธิต่างๆ ในทางอ้อม
เมื่อปัญหาอาหารเหลือทิ้งกลายเป็นปัญหาระดับโลก องค์การสหประชาชาติจึงได้แนะนำแนวทางการแก้ไขปัญหาขยะอาหารสำหรับทุกคนดังนี้
1.วางแผนการซื้อโดยดูว่าเราต้องการรับประทานอะไรบ้างในแต่ละวันหรือแต่ละสัปดาห์
2.รู้จักคำนวณปริมาณการซื้อที่เพียงพอต่อความต้องการ ซื้อเท่าที่จะรับประทาน สั่งอาหารแต่พอดี
3.รู้จักวันหมดอายุของอาหารและนำมาปรุงอย่างเหมาะสม
4.เรียงลำดับอาหารในตู้เย็นตามวันหมดอายุของอาหาร โดยให้อาหารที่กำลังจะหมดอายุก่อนอยู่หน้าสุด
5.รู้จักวิธีการเก็บถนอมอาหารให้มีอายุยาวนานมากที่สุด
6.จัดแบ่งอาหารใส่กล่องสำหรับเตรียมประกอบอาหารในแต่ละมื้อ เช่น วัตถุดิบสำหรับทำอาหารกลางวัน กล่องเตรียมอาหารสำหรับลูกไปโรงเรียน เป็นต้น
7.คอยตรวจสอบอาหารในตู้ว่ามีสิ่งไหนใกล้หมดอายุ และรีบนำมา ประกอบอาหารในมื้อต่อไปทันที
http://www.thaihealth.or.th
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น